แสงสนธยา (Twilight)

แสงสนธยา

เวลาแสงสนธยาแบบต่าง ๆ

แสงสนธยา จ.กรุงเทพมหานคร วันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ.2567/ค.ศ.2024

จ.กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย (UTC+07:00)
แสงสนธยา (Twilight) เป็นแสงช่วงก่อน-หลังดวงอาทิตย์ตก ช่วงเปลี่ยนจากกลางวันเป็นกลางคืน และกลางคืนเป็นกลางวัน แสงสนธยาเกิดจากแสงจากดวงอาทิตย์ที่ส่องกระเจิงในชั้นบรรยากาศโลกชั้นบน แล้วสะท้อนมายังชั้นบรรยากาศหรือพื้นโลกด้านล่าง เห็นแสงสว่างแบบสลัว ๆ และยังไม่สว่าง แสงสนธยาแบ่งได้ 3 แบบ ตามมุมที่ดวงอาทิตย์ทำกับเส้นขอบฟ้า ดังนี้

1. แสงสนธยาทางการ/พลเรือน (Civil Twilight) ช่วงเวลาที่ดวงอาทิตย์อยู่ต่ำกว่าเส้นขอบฟ้า (Horizon) 0° - 6° หรือประมาณ 24 นาที ก่อนเวลาดวงอาทิตย์ขึ้นและหลังดวงอาทิตย์ตก

2. แสงสนธยาเดินเรือ (Nautical Twilight) ช่วงเวลาที่ดวงอาทิตย์อยู่ต่ำกว่าเส้นขอบฟ้า (Horizon) 6° - 12° หรือประมาณ 24 - 48 นาที ก่อนเวลาดวงอาทิตย์ขึ้นและหลังดวงอาทิตย์ตก

3. แสงสนธยาดาราศาสตร์ (Astronomical Twilight) ช่วงเวลาที่ดวงอาทิตย์อยู่ต่ำกว่าเส้นขอบฟ้า (Horizon) 12° - 18° หรือประมาณ 48 นาที - 1 ชั่วโมง 12 นาที ก่อนเวลาดวงอาทิตย์ขึ้นและหลังดวงอาทิตย์ตก

วันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ.2567/ค.ศ.2024
จ.กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย (UTC+07:00)
อาทิตย์ขึ้น
06:21น.
05:58น.
05:32น.
05:06น.
อาทิตย์ตก
17:47น.
18:10น.
18:36น.
19:02น.
เดือน
จังหวัด

แสงสนธยา พฤศจิกายน พ.ศ.2567/ค.ศ.2024 จ.กรุงเทพมหานคร

จ.กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย (UTC+07:00)
เลื่อน
 
พ.ย. 2567
วันที่
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
แสงสนธยา
เวลาดวงอาทิตย์ขึ้น-ตก
แสงสนธยา
ดาราศาสตร์
(Astronomical Twilight)
เดินเรือ
(Nautical Twilight)
ทางการ
(Civil Twilight)
ดวงอาทิตย์ขึ้น
(Sunrise)
เที่ยงจริง
(Solar Noon/Transit)
ดวงอาทิตย์ตก
(Sunset)
ทางการ
(Civil Twilight)
เดินเรือ
(Nautical Twilight)
ดาราศาสตร์
(Astronomical Twilight)
เริ่มเวลา
น.
เริ่มเวลา
น.
เริ่มเวลา
น.
เวลา
น.
มุมทิศ
(Azimuth)
เวลา
น.
มุมเงย
(Altitude)
เวลา
น.
มุมทิศ
(Azimuth)
สิ้นสุดเวลา
น.
สิ้นสุดเวลา
น.
สิ้นสุดเวลา
น.
05:00
05:25
05:51
06:13
105°
12:02
62°
17:50
255°
18:12
18:38
19:03
05:00
05:26
05:51
06:13
105°
12:02
61°
17:50
255°
18:12
18:37
19:03
05:00
05:26
05:51
06:13
105°
12:02
61°
17:50
254°
18:12
18:37
19:03
05:01
05:26
05:51
06:13
106°
12:02
61°
17:50
254°
18:12
18:37
19:02
05:01
05:26
05:52
06:14
106°
12:02
60°
17:49
254°
18:11
18:37
19:02
05:01
05:27
05:52
06:14
106°
12:02
60°
17:49
254°
18:11
18:37
19:02
05:01
05:27
05:52
06:15
107°
12:02
60°
17:49
253°
18:11
18:36
19:02
05:02
05:27
05:53
06:15
107°
12:02
60°
17:48
253°
18:11
18:36
19:02
05:02
05:27
05:53
06:15
107°
12:02
59°
17:48
253°
18:10
18:36
19:02
05:02
05:28
05:53
06:16
108°
12:02
59°
17:48
252°
18:10
18:36
19:01
05:03
05:28
05:54
06:16
108°
12:02
59°
17:48
252°
18:10
18:36
19:01
05:03
05:28
05:54
06:16
108°
12:02
58°
17:48
252°
18:10
18:36
19:01
05:03
05:29
05:55
06:17
108°
12:02
58°
17:48
252°
18:10
18:36
19:01
05:04
05:29
05:55
06:17
109°
12:02
58°
17:47
251°
18:10
18:36
19:01
05:04
05:30
05:55
06:18
109°
12:03
58°
17:47
251°
18:10
18:36
19:01
05:04
05:30
05:56
06:18
109°
12:03
57°
17:47
251°
18:10
18:36
19:01
05:05
05:30
05:56
06:19
109°
12:03
57°
17:47
250°
18:10
18:36
19:01
05:05
05:31
05:57
06:19
110°
12:03
57°
17:47
250°
18:10
18:36
19:01
05:05
05:31
05:57
06:20
110°
12:03
57°
17:47
250°
18:10
18:36
19:02
05:06
05:32
05:58
06:20
110°
12:04
56°
17:47
250°
18:10
18:36
19:02
05:06
05:32
05:58
06:21
110°
12:04
56°
17:47
250°
18:10
18:36
19:02
05:06
05:32
05:58
06:21
111°
12:04
56°
17:47
249°
18:10
18:36
19:02
05:07
05:33
05:59
06:22
111°
12:04
56°
17:47
249°
18:10
18:36
19:02
05:07
05:33
05:59
06:22
111°
12:05
56°
17:47
249°
18:10
18:36
19:02
05:08
05:34
06:00
06:23
111°
12:05
55°
17:47
249°
18:10
18:36
19:02
05:08
05:34
06:00
06:23
111°
12:05
55°
17:48
249°
18:10
18:36
19:03
05:09
05:35
06:01
06:24
112°
12:06
55°
17:48
248°
18:10
18:37
19:03
05:09
05:35
06:01
06:24
112°
12:06
55°
17:48
248°
18:11
18:37
19:03
05:09
05:36
06:02
06:25
112°
12:06
55°
17:48
248°
18:11
18:37
19:03
05:10
05:36
06:02
06:25
112°
12:07
55°
17:48
248°
18:11
18:37
19:04
เวลาขึ้น (Rise Time)
เวลาที่ขอบบนของดวงอาทิตย์ (Upper Limb) แตะกับเส้นขอบฟ้าตะวันออก (Eastern Horizon)

เวลาตก (Set Time)
เวลาที่ขอบบนของดวงอาทิตย์ (Upper Limb) แตะกับเส้นขอบฟ้าตะวันตก (Western Horizon)

เที่ยงจริง (Sun Transit Time)
เวลาที่ดวงอาทิตย์ผ่านเส้นเมอริเดียน (Meridian)

แสงสนธยา (Twilights)
ช่วงเวลาที่ดวงอาทิตย์อยู่ต่ำกว่าเส้นขอบฟ้า (Horizon) ก่อนเวลาดวงอาทิตย์ขึ้นและหลังดวงอาทิตย์ตก แสงสนธยามี แบบแบ่งตามระยะห่างเชิงมุมของดวงอาทิตย์กับเส้นขอบฟ้า (Horizon) ของผู้สังเกตการณ์

แสงสนธยาทางการ/พลเรือน (Civil Twilight)
ช่วงเวลาที่ดวงอาทิตย์อยู่ต่ำกว่าเส้นขอบฟ้า (Horizon) 0° - 6° หรือประมาณ 24 นาที ก่อนเวลาดวงอาทิตย์ขึ้นและหลังดวงอาทิตย์ตก

แสงสนธยาเดินเรือ (Nautical Twilight)
ช่วงเวลาที่ดวงอาทิตย์อยู่ต่ำกว่าเส้นขอบฟ้า (Horizon) 6° - 12° หรือประมาณ 24 - 48 นาที ก่อนเวลาดวงอาทิตย์ขึ้นและหลังดวงอาทิตย์ตก

แสงสนธยาดาราศาสตร์ (Astronomical Twilight)
ช่วงเวลาที่ดวงอาทิตย์อยู่ต่ำกว่าเส้นขอบฟ้า (Horizon) 12° - 18° หรือประมาณ 48 นาที - 1 ชั่วโมง 12 นาที ก่อนเวลาดวงอาทิตย์ขึ้นและหลังดวงอาทิตย์ตก

มุมทิศ (Azimuth)
มุมในระบบพิกัดขอบฟ้า (Horizontal Coordinates) มุมทิศเป็นมุมในแนวราบขนานกับเส้นขอบฟ้า (Horizon) มีค่าระหว่าง 0 - 360° นับ 0° จากทิศเหนือ ตามเข็มนาฬิกา ไปยังทิศตะวันออก ทิศใต้ ทิศตะวันตก และกลับมายังทิศเหนืออีกครั้งตามละดับ เช่น ทิศเหนือ 0° , ทิศตะวันออก 90° , ทิศใต้ 180° , ทิศตะวันตก 270° , ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ 45°

มุมเงย (Altitude)
มุมในระบบพิกัดขอบฟ้า (Horizontal Coordinates) มุมเงยเป็นมุมในแนวดิ่งที่ใช้บอกความสูงของวัตถุบนท้องฟ้า มีค่าระหว่าง 0 - 90° นับ 0° ที่เส้นขอบฟ้า (Horizon) จนถึงจุดจอมฟ้า (Zenith) หรือ 90° ในกรณีที่มุมเงยมีค่า น้อยกว่า 0° หรืออยู่ระหว่าง 0° ถึง - 90° หมายถึง ณ เวลานั้น ๆ วัตถุบนท้องฟ้า ดวงดาวยังไม่ขึ้น ยังอยู่ต่ำกว่าเส้นขอบฟ้า (0°) และไม่สามารถมองเห็นได้ ดู การบอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า

ประเทศไทย (Thailand)
Ephemeris is based upon the DE431 ephemerides from NASA's Jet Propulsion Laboratory (JPL).
อ่าน ใช้งาน แล้ว เขียนรีวิว และคลิก Like , Share ให้ด้วยนะครับ :)   N/A จาก N/A รีวิว