เวลาดาวขึ้น-ตก (Rising and Setting Times)
กด Like , Share ให้ด้วยนะครับ
เวลาดาวขึ้น-ตก
เวลาดาวขึ้น (Rise) เวลาดาวเคราะห์ตก (Set) เวลาดาวผ่านเส้นเมอริเดียน (Meridian Transit) และมุมทิศ (Azimuth) จ.กรุงเทพมหานคร
เดือน
จังหวัด
เวลาดาวขึ้น-ตก มกราคม พ.ศ.2568/ค.ศ.2025 จ.กรุงเทพมหานคร
จ.กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย (UTC+07:00)
อาทิตย์
(Sun)
จันทร์
(Moon)
พุธ
(Mercury)
ศุกร์
(Venus)
อังคาร
(Mars)
พฤหัสบดี
(Jupiter)
เสาร์
(Saturn)
ยูเรนัส
(Uranus)
เนปจูน
(Neptune)
พลูโต
(Pluto)
เวลาขึ้น (Rise Time)
เวลาที่ขอบบนของดาวเคราะห์ แตะกับเส้นขอบฟ้าตะวันออก (Horizon)
เวลาตก (Set Time)
เวลาที่ขอบบนของดาวเคราะห์ แตะกับเส้นขอบฟ้าตะวันตก (Horizon)
มุมทิศ (Azimuth)
มุมทิศเป็นมุมในระบบพิกัดขอบฟ้า (Horizontal Coordinates) มุมทิศเป็นมุมในแนวราบขนานกับเส้นขอบฟ้า (Horizon) มีค่าระหว่าง 0 - 360° นับ 0° จากทิศเหนือ ตามเข็มนาฬิกา ไปยังทิศตะวันออก ทิศใต้ ทิศตะวันตก และกลับมายังทิศเหนืออีกครั้งตามละดับ เช่น ทิศเหนือ 0° , ทิศตะวันออก 90° , ทิศใต้ 180° , ทิศตะวันตก 270° , ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ 45°
มุมเงย (Altitude)
มุมในระบบพิกัดขอบฟ้า (Horizontal Coordinates) มุมเงยเป็นมุมในแนวดิ่งที่ใช้บอกความสูงของวัตถุบนท้องฟ้า มีค่าระหว่าง 0 - 90° นับ 0° ที่เส้นขอบฟ้า (Horizon) จนถึงจุดจอมฟ้า (Zenith) หรือ 90° ในกรณีที่มุมเงยมีค่า น้อยกว่า 0° หรืออยู่ระหว่าง 0° ถึง - 90° หมายถึง ณ เวลานั้น ๆ วัตถุบนท้องฟ้า ดวงดาวยังไม่ขึ้น ยังอยู่ต่ำกว่าเส้นขอบฟ้า (0°) และไม่สามารถมองเห็นได้
ดู
การบอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
ประเทศไทย (Thailand)
เลือกสถานที่/จังหวัดที่สังเกตการณ์
Ephemeris is based upon the
DE431 ephemerides from NASA's Jet Propulsion Laboratory (
JPL).
อ่าน ใช้งาน
แล้ว
เขียนรีวิว และคลิก Like , Share ให้ด้วยนะครับ :)
N/A
★ จาก
N/A รีวิว