ปฏิทินปักขคณนา พ.ศ.2567 / จ.ศ.1386

พ.ศ./ค.ศ.
ปฏิทิน ปักขคณนา พ.ศ.2567
เดือนจันทรคติ
วันพระ ค่ำแรม วันลงอุโบสถ ในปฏิทินปักขคณนาชุดนี้ บางปี อาจไม่ตรง กับปฏิทินปักขคณนาที่พิมพ์เผยแพร่ ประกาศ หรือใช้งานจริงปัจจุบัน ซึ่งอาจมีการสลับปรับเปลี่ยนปักข์ในบางเดือนเพื่อให้วันพระสำคัญ เช่น วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา ตรงกับปฏิทินหลวง/ปฏิทินราชการ
ปฏิทินจันทรคติไทย ,ปักขคณนา และจันทร์เพ็ญ จันทร์ดับ พ.ศ.2567 / จ.ศ.1386
สุริยคติ เป็น อธิกสุรทิน , จันทรคติ เป็น ปกติมาส ปกติวาร
  จันทร์
  เดือนไทย
  ปฏิทินจันทรคติไทย
  ปฏิทินปักขคณนา
  วันสำคัญ
  จันทร์เพ็ญ/ดับจริง
  ดับ ดับ
  เพ็ญ เพ็ญ
  ดับ ดับ
  เพ็ญ เพ็ญ
  ดับ ดับ
  เพ็ญ เพ็ญ
  ดับ ดับ
  เพ็ญ เพ็ญ
  ดับ ดับ
  เพ็ญ เพ็ญ
  ดับ ดับ
  เพ็ญ เพ็ญ
  ดับ ดับ
  เพ็ญ เพ็ญ
 
  ดับ ดับ
  เพ็ญ เพ็ญ
  ดับ ดับ
  เพ็ญ เพ็ญ
  ดับ ดับ
  เพ็ญ เพ็ญ
  ดับ ดับ
  เพ็ญ เพ็ญ
  ดับ ดับ
  เพ็ญ เพ็ญ
  ดับ ดับ
อ้าย(๑)
ยี่(๒)
ยี่(๒)
สาม(๓)
สาม(๓)
สี่(๔)
สี่(๔)
ห้า(๕)
ห้า(๕)
หก(๖)
หก(๖)
เจ็ด(๗)
เจ็ด(๗)
แปด(๘)
แปด(๘)
แปด(๘)
เก้า(๙)
เก้า(๙)
สิบ(๑๐)
สิบ(๑๐)
สิบเอ็ด(๑๑)
สิบเอ็ด(๑๑)
สิบสอง(๑๒)
สิบสอง(๑๒)
อ้าย(๑)
อ้าย(๑)
แรม
๑๔
ค่ำ
พ.
10 ม.ค. 2567
ขึ้น
๑๕
ค่ำ
พฤ.
25 ม.ค. 2567
แรม
๑๕
ค่ำ
ศ.
09 ก.พ. 2567
ขึ้น
๑๕
ค่ำ
ส.
24 ก.พ. 2567
แรม
๑๔
ค่ำ
ส.
09 มี.ค. 2567
ขึ้น
๑๕
ค่ำ
อา.
24 มี.ค. 2567
แรม
๑๕
ค่ำ
จ.
08 เม.ย. 2567
ขึ้น
๑๕
ค่ำ
อ.
23 เม.ย. 2567
แรม
๑๔
ค่ำ
อ.
07 พ.ค. 2567
ขึ้น
๑๕
ค่ำ
พ.
22 พ.ค. 2567
แรม
๑๕
ค่ำ
พฤ.
06 มิ.ย. 2567
ขึ้น
๑๕
ค่ำ
ศ.
21 มิ.ย. 2567
แรม
๑๔
ค่ำ
ศ.
05 ก.ค. 2567
ขึ้น
๑๕
ค่ำ
ส.
20 ก.ค. 2567
แรม
ค่ำ
อา.
21 ก.ค. 2567
แรม
๑๕
ค่ำ
อา.
04 ส.ค. 2567
ขึ้น
๑๕
ค่ำ
จ.
19 ส.ค. 2567
แรม
๑๔
ค่ำ
จ.
02 ก.ย. 2567
ขึ้น
๑๕
ค่ำ
อ.
17 ก.ย. 2567
แรม
๑๕
ค่ำ
พ.
02 ต.ค. 2567
ขึ้น
๑๕
ค่ำ
พฤ.
17 ต.ค. 2567
แรม
๑๔
ค่ำ
พฤ.
31 ต.ค. 2567
ขึ้น
๑๕
ค่ำ
ศ.
15 พ.ย. 2567
แรม
๑๕
ค่ำ
ส.
30 พ.ย. 2567
ขึ้น
๑๕
ค่ำ
อา.
15 ธ.ค. 2567
แรม
๑๔
ค่ำ
อา.
29 ธ.ค. 2567
แรม
๑๔
ค่ำ
ขาด
พ.
10 ม.ค. 2567
ขึ้น
๑๕
ค่ำ
ถ้วน
พฤ.
25 ม.ค. 2567
แรม
๑๕
ค่ำ
ถ้วน
ศ.
09 ก.พ. 2567
ขึ้น
๑๕
ค่ำ
ถ้วน
ส.
24 ก.พ. 2567
แรม
๑๕
ค่ำ
ถ้วน
อา.
10 มี.ค. 2567
ขึ้น
๑๔
ค่ำ
ขาด
อา.
24 มี.ค. 2567
แรม
๑๕
ค่ำ
ถ้วน
จ.
08 เม.ย. 2567
ขึ้น
๑๕
ค่ำ
ถ้วน
อ.
23 เม.ย. 2567
แรม
๑๕
ค่ำ
ถ้วน
พ.
08 พ.ค. 2567
ขึ้น
๑๔
ค่ำ
ขาด
พ.
22 พ.ค. 2567
แรม
๑๕
ค่ำ
ถ้วน
พฤ.
06 มิ.ย. 2567
ขึ้น
๑๕
ค่ำ
ถ้วน
ศ.
21 มิ.ย. 2567
แรม
๑๕
ค่ำ
ถ้วน
ส.
06 ก.ค. 2567
ขึ้น
๑๔
ค่ำ
ขาด
ส.
20 ก.ค. 2567
แรม
ค่ำ
ถ้วน
อา.
21 ก.ค. 2567
แรม
๑๕
ค่ำ
ถ้วน
อา.
04 ส.ค. 2567
ขึ้น
๑๕
ค่ำ
ถ้วน
จ.
19 ส.ค. 2567
แรม
๑๕
ค่ำ
ถ้วน
อ.
03 ก.ย. 2567
ขึ้น
๑๔
ค่ำ
ขาด
อ.
17 ก.ย. 2567
แรม
๑๕
ค่ำ
ถ้วน
พ.
02 ต.ค. 2567
ขึ้น
๑๕
ค่ำ
ถ้วน
พฤ.
17 ต.ค. 2567
แรม
๑๕
ค่ำ
ถ้วน
ศ.
01 พ.ย. 2567
ขึ้น
๑๕
ค่ำ
ถ้วน
ส.
16 พ.ย. 2567
แรม
๑๔
ค่ำ
ขาด
ส.
30 พ.ย. 2567
ขึ้น
๑๕
ค่ำ
ถ้วน
อา.
15 ธ.ค. 2567
แรม
๑๕
ค่ำ
ถ้วน
จ.
30 ธ.ค. 2567
 
 
 
วันมาฆบูชา 
 
 
 
 
 
วันวิสาขบูชา 
 
 
 
วันอาสาฬหบูชา 
วันเข้าพรรษา 
 
 
 
 
 
วันออกพรรษา 
 
วันลอยกระทง 
 
 
 
ดับ ดับ
พฤ. 11 ม.ค. 2567 , 18:57น.
เพ็ญ เพ็ญ
ศ. 26 ม.ค. 2567 , 00:54น.
ดับ ดับ
ส. 10 ก.พ. 2567 , 05:59น.
เพ็ญ เพ็ญ
ส. 24 ก.พ. 2567 , 19:30น.
ดับ ดับ
อา. 10 มี.ค. 2567 , 16:00น.
เพ็ญ เพ็ญ
จ. 25 มี.ค. 2567 , 14:00น.
ดับ ดับ
อ. 09 เม.ย. 2567 , 01:21น.
เพ็ญ เพ็ญ
พ. 24 เม.ย. 2567 , 06:49น.
ดับ ดับ
พ. 08 พ.ค. 2567 , 10:22น.
เพ็ญ เพ็ญ
พฤ. 23 พ.ค. 2567 , 20:53น.
ดับ ดับ
พฤ. 06 มิ.ย. 2567 , 19:38น.
เพ็ญ เพ็ญ
ส. 22 มิ.ย. 2567 , 08:08น.
ดับ ดับ
ส. 06 ก.ค. 2567 , 05:57น.
เพ็ญ เพ็ญ
อา. 21 ก.ค. 2567 , 17:17น.
 
ดับ ดับ
อา. 04 ส.ค. 2567 , 18:13น.
เพ็ญ เพ็ญ
อ. 20 ส.ค. 2567 , 01:26น.
ดับ ดับ
อ. 03 ก.ย. 2567 , 08:56น.
เพ็ญ เพ็ญ
พ. 18 ก.ย. 2567 , 09:34น.
ดับ ดับ
พฤ. 03 ต.ค. 2567 , 01:49น.
เพ็ญ เพ็ญ
พฤ. 17 ต.ค. 2567 , 18:26น.
ดับ ดับ
ศ. 01 พ.ย. 2567 , 19:47น.
เพ็ญ เพ็ญ
ส. 16 พ.ย. 2567 , 04:28น.
ดับ ดับ
อา. 01 ธ.ค. 2567 , 13:21น.
เพ็ญ เพ็ญ
อา. 15 ธ.ค. 2567 , 16:02น.
ดับ ดับ
อ. 31 ธ.ค. 2567 , 05:27น.
วัน [ว] ( 1 : อาทิตย์ , 2 : จันทร์ , 3 : อังคาร , 4 : พุธ , 5 : พฤหัสบดี , 6 : ศุกร์ , 7 : เสาร์ ) ข้างขึ้นข้างแรม [ข-ร] (ข้างขึ้น ค่ำจะอยู่ด้านบน 'ฯ ' , ข้างแรม ค่ำจะอยู่ด้านล่าง 'ฯ ') , ปักข์ขาด/ปักข์ถ้วน (ข : ปักข์ขาด มี 14 วัน , ถ : ปักข์ถ้วน มี 15 วัน) , เดือนจันทรคติไทย [ด] (1 : เดือนอ้าย(๑) , 2 : เดือนยี่(๒) , 3 : เดือนสาม(๓) , 4 : เดือนสี่(๔) , 5 : เดือนห้า(๕) , 6 : เดือนหก(๖) , 7 : เดือนเจ็ด(๗) , 8 : เดือนแปด(๘) , 9 : เดือนเก้า(๙) , 10 : เดือนสิบ(๑๐) , 11 : เดือนสิบเอ็ด(๑๑) , 12 : เดือนสิบสอง(๑๒) , 88 : เดือนแปดหลัง(๘๘) มีเฉพาะในปีอธิกมาส ) , ปกติมาส ปกติวาร : เป็นปีปกติ เดือนคู่ (๒, ๔, ๖, ๘, ๘๘, ๑๐, ๑๒) มีข้างขึ้นและข้างแรม 15 วัน เดือนคี่ (๑, ๓, ๕, ๗, ๙, ๑๑) มีข้างขึ้น 15 วัน ส่วนข้างแรมมี 14 วัน (รอบปีจันทรคติรวม 354 วัน), ปกติมาส อธิกวาร : เป็นปีปกติ แต่เดือนเจ็ด(๗) มีข้างแรม 15 วัน (รอบปีจันทรคติรวม 355 วัน) , อธิกมาส ปกติวาร : เป็นปีปกติ แต่เพิ่มเดือนแปดสองหน(๘๘) เพิ่มวัน 30 วัน (รอบปีจันทรคติรวม 384 วัน) , ปกติสุรทิน รอบปีปฏิทินสุริยคติ 1 ปี มี 365 วัน (เดือนกุมภาพันธ์มี 28 วัน) , อธิกสุรทิน รอบปีปฏิทินสุริยคติ 1 ปี มี 366 วัน (เดือนกุมภาพันธ์มี 29 วัน) , วันพระ : ขึ้น ๘ ค่ำ , ขึ้น ๑๕ ค่ำ (วันเพ็ญ) , แรม ๘ ค่ำ , แรม ๑๕ ค่ำ หากเดือนใดเป็นเดือนขาดหรือเดือนคี่ (๑, ๓, ๕, ๗, ๙, ๑๑) ให้ถือเอาแรม ๑๔ ค่ำ เป็นวันพระ , รอบวันทางจันทรคติไทย นับตามเวลาดวงอาทิตย์ขึ้นจริง หรือประมาณ เวลา 06:00น. ถึง 05:59น. (วันรุ่งขึ้น)
ประกาศสงกรานต์ พ.ศ.2567/จ.ศ.1386
วันเถลิงศก
วันอังคารที่ 16 เมษายน พ.ศ.2567 เวลา 02:15:00น.[ก]
มาสเกณฑ์
:  17143
หรคุณ
:  506250
อุจจพล
:  1437
วาร
:  3
อวมาน
:  184
กัมมัชพล
:  725
ดิถี
:  8
วันมหาสงกรานต์
วันเสาร์ที่ 13 เมษายน พ.ศ.2567 เวลา 22:17:24น. [ก] [ข]
ดู ประกาศสงกรานต์ พ.ศ.2567
กาลโยค พ.ศ.2567/จ.ศ.1386
วาร (วัน) กาลโยค [ค]

ธงชัย
:  อังคาร (3)
อธิบดี
:  พฤหัสบดี (5)
อุบาทว์/อุบาสน
:  จันทร์ (2)
โลกาวินาศ
:  เสาร์ (7)
ยาม (เวลา) กาลโยค [ค]

ธงชัย
:  15:00-16:30 , 03:30-04:30 (7)
อธิบดี
:  13:30-15:00 , 01:30-03:00 (6)
อุบาทว์/อุบาสน
:  13:30-15:00 , 01:30-03:00 (6)
โลกาวินาศ
:  07:30-09:00 , 19:30-21:00 (2)
[ก] เวลาท้องถิ่นกรุงเทพฯ (UTC:+06:42) เทียบเวลามาตรฐานปัจจุบัน (UTC:+07:00) ให้บวกเพิ่ม 18 นาที
[ข] วันมหาสงกรานต์ คำนวณวิธีพิชัยสงคราม ดาวย้ายราศีแบบ 0 พิลิปดา
[ค] กาลโยค เริ่มใช้หลังจากวันเวลาเถลิงศก วันเวลาก่อนหน้านี้ใช้กาลโยค พ.ศ.2566
อ่าน ใช้งาน แล้ว เขียนรีวิว และคลิก Like , Share ให้ด้วยนะครับ :)   N/A จาก N/A รีวิว
หมายเหตุ ปฏิทินปักขคณนา พ.ศ.2567 / จ.ศ.1386
ปักขคณนา เป็นปฏิทินที่ใช้ในคณะสงฆ์ ธรรมยุติกนิกาย เพื่อกำหนดวันทำศาสนกิจ ระบบปฏิทินจันทรคติแบบปักขคณนานี้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ซึ่งทรงมีพระอัจฉริยภาพสูงยิ่งทั้งด้าน ดาราศาสตร์ และโหราศาสตร์ พระองค์ได้ศึกษาคัมภีร์สารัมภ์ ซึ่งเป็นคัมภีร์เกี่ยวกับการคำนวณตำแหน่งดวงอาทิตย์ดวงจันทร์และการเกิดคราส พระองค์ได้คิดค้นพัฒนาปฏิทินหรือกระดานปักขคณนา ระหว่างทรงผนวชก่อนขึ้นครองราชสมบัติ ช่วงปี พ.ศ.2397-2394 เหตุเนื่องจากปัญหาปฏิทินจันทรคติในยุคสมัยนั้น การกำหนดวันพระ วันสำคัญ ไม่สอดคล้องกับปรากฎการณ์ทางดาราศาสตร์ หรือการสังเกตการณ์ดวงจันทร์จริง ปฏิทินจันทรคติซึ่งใช้เกณฑ์คัมภีร์สุริยยาตร์แต่โบราณก็ไม่มีกฎ การวางอธิกมาส อธิกวาร แน่นอนตายตัว รวมถึงผู้คำนวณปฏิทินไม่เอาใจใส่ตรวจสอบปรากฎการณ์จริง วันปฏิบัติศาสนกิจไม่สอดคล้องกับดวงจันทร์เพ็ญจริง ดับจริง ตามพุทธประสงค์

ในช่วงแรกปฏิทินปักขคณนายังใช้ไม่แพร่หลายเพราะยังเป็นเรื่องใหม่ จนกระทั้ง พ.ศ.2411 ได้มีพระบรมราชาธิบายตำราปักขคณนาฉบับสมบูรณ์ รวบรวมข้อมูล อธิบายแนวคิดที่มาที่ไป รวมถึงหลักการคำนวณทางคณิตศาสตร์โดยละเอียด วิธีการคำนวณหาวันขึ้นแรมให้แม่นยำตรงตามการโคจรของดวงจันทร์เป็นสำคัญ

ปักขคณนา เป็นคำที่เกิดคำว่า ปักขะ ซึ่งเป็นภาษาบาลี ที่แปลว่า ปักข์ หรือ รอบครึ่งเดือน ในอีกความหมายหนึ่งคือ ครึ่ง ข้าง ฝ่าย โดยนัยว่ามีสองส่วน เหมือนปีกนกข้างใดข้างหนึ่ง (ปักษา,ปักษ์) ซึ่งก็คือ ข้างขึ้นและข้างแรม มารวมกับคำว่า คณนา ซึ่งแปลว่า การนับ การคำนวณ ดังนั้น ปักขคณนา จึงแปลว่า การนับ การคำนวณดิถีจันทร์ตามปักข์ , หมายเหตุปฏิทินปักขคณนา นี้ ได้สรุป แนะนำการใช้งานเบื้องต้น รูปแบบ กฎเกณฑ์ และข้อกำหนดของปฏิทินที่ควรทราบ เป็นข้อ ๆ ดังนี้


[1] ปฏิทินปักขคณนาชุดนี้ คำนวณแบบกระดานปักขคณนา ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ตามพระราชนิพนธ์เรื่อง "วิธีปักขคณนา" จากหนังสือ "ความรู้เรื่อง ปักขคณนา ตำราการคำนวณปฏิทินทางจันทรคติ" มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์

เดือนในปฏิทินปักขคณนา จะมี 2 ปักข์คือ ปักข์ขาด (14 วัน) กับ ปักข์ถ้วน (15 วัน) ในแต่ละเดือนอาจเป็น ปักข์ถ้วน-ปักข์ถ้วน (30 วัน) หรือ ปักข์ถ้วน-ปักข์ขาด (29 วัน) ก็เป็นได้ขึ้นอยู่กับการนับรอบปักข์นั้น , ปฏิทินปักขคณนาไม่มีกฎเรื่องเดือนคี่มี 29 วัน หรือ เดือนคู่มี 30 วัน แบบปฏิทินจันทรคติไทย ดังนั้นเดือนคี่อาจมี 30 วันได้ถ้าเป็นปักข์ถ้วนทั้ง 2 ครั้งติดต่อกัน , ปฏิทินปักขคณนาไม่มีการใช้ อธิกวาร เพราะใช้ปักข์กำหนดจำนวนวัน

เป็นเดือนปฏิทินปักขคณนาที่วาง อธิกมาส ตามพระราชาธิบายเรื่องอธิกมาส ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 โดยทุก ๆ 19 ปี จะมีเดือน อธิกมาส 7 ครั้ง วางอธิกมาสทุก ๆ 33 , 33 , 32 , 33 , 32 , 33 และ 32 เดือนตามลำดับ จะวางหลังเดือน ๘ เรียกเดือนแปดสองหน หรือ เดือนแปดหลัง (๘๘) จำนวนวันในเดือนที่เพิ่มเข้ามา อาจไม่เท่ากับ 30 วัน หรือจำนวนวันในเดือนอธิกมาสตามปฏิทินจันทรคติไทย อาจเพิ่ม 29 วันก็เป็นได้ ขึ้นอยู่กับรอบปักข์นั้น ๆ ว่า ปักข์ถ้วน หรือ ปักข์ขาด

เดือนจันทรคติ ในปฏิทินข้างต้น สามารถตั้งค่าการแสดงผลเดือนได้ 3 แบบ (1). เดือนปฏิทินจันทรคติไทย (2). ปักขคณนา ในรอบ ๑๙ ปี ตามพระบรมราชาธิบาย จะเริ่ม เดือนที่แรม ๑ ค่ำ (3). ปักขคณนา ปรับข้างขึ้น 1 ค่ำ เริ่มต้นเดือน แบบปฏิทินจันทรคติไทย , ในกระดานปักขคณนา เพื่อให้ดูง่าย สามารถเลือกตั้งค่าแสดงผลหมุดได้ ว่าเป็นอักษรขอม อักษรไทย หรือสัญลักษณ์ได้

[2] ปีศักราช , จุลศักราช (จ.ศ.) ปฏิทินชุดนี้เปลี่ยนปีจุลศักราชในวันเถลิงศก คำนวณตามคัมภีร์สุริยาตร์โดยในปี พ.ศ.2567/จ.ศ.1386 วันเถลิงศกตรงกับ วันอังคารที่ 16 เมษายน พ.ศ.2567 เวลา 02:15:00น. วันเดียวกันอาจคาบเกี่ยวจุลศักราชได้ เพราะมีช่วงเวลามาเกี่ยวข้อง , วันกาลโยคเริ่มใช้หลังจากวันเถลิงศกนี้เช่นกัน ดู ประกาศสงกรานต์ พ.ศ.2567

รัตนโกสินทรศก (ร.ศ.) เริ่มใช้จริงวันที่ 1 เมษายน พ.ศ.2432 (ปีเดียวกันที่เริ่มใช้วันที่ 1 เมษายน เป็นวันขึ้นปีใหม่) และยกเลิกใช้งานเมื่อ พ.ศ.2455 , ปฏิทินชุดนี้แสดงปีรัตนโกสินทรศก 1 ในวันที่ 1 เมษายน พ.ศ.2325 ช่วงเวลาก่อน เมษายน พ.ศ.2325 แสดงรัตนโกสินทรศก 0 ทั้งหมด ทั้งนี้แม้ยกเลิกการใช้งานไปแล้ว ปีปัจจุบันยังแสดงปีรัตนโกสินทรศก , มหาศักราช (ม.ศ.) ปฏิทินชุดนี้เปลี่ยนปีมหาศักราชในวันที่ 22 มีนาคมของทุกปี หรือ 23 มีนาคมในปีอธิกสุรทิน

[3] วันสำคัญทางพุทธศาสนา ได้กำหนดตามเงื่อนไขปฏิทินปักขคณนา อาจตรงกับ ขึ้นแรม ๗ - ๘ ค่ำ , ขึ้นแรม ๑๔ - ๑๕ ค่ำ ก็ได้อยู่ที่เดือนนั้น ๆ เป็น ปักข์ขาด/ปักข์ถ้วน

วันสำคัญทางพุทธศาสนา ในปฏิทินปักขคณนาชุดนี้ ในแต่ละปีบางช่วงเวลาในทางคำนวณค่ำแรม อาจไม่ตรง กับปฏิทินปักขคณนาที่พิมพ์เผยแพร่ ประกาศ หรือใช้งานจริงปัจจุบัน ซึ่งอาจมีการสลับปรับเปลี่ยนปักข์ในบางเดือนเพื่อให้วันพระสำคัญ เช่น วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา ตรงกับปฏิทินหลวง/ปฏิทินราชการ

[4] รายละเอียดอื่น ๆ การนับวัน วันสำคัญ ปีนักษัตร ดูหมายเหตุปฏิทินจันทรคติไทยปีนั้น ๆ ดู ปฏิทิน พ.ศ.2567